![]() |
LinkIt Smart 7688 Duo บอร์ด MT7688+Arduino Yun |
Friday, February 26, 2016
LinkIt Smart 7688 Duo กับการเชื่อมต่อผ่าน UART
กว่าจะได้มาก็รอมาหลายวันสำหรับ Smart 7688 Duo ตัวนี้ เพราะที่ผ่านมาได้ลองให้เชื่อมต่อบอร์ด Arduino กับ Smart7688 ธรรมดาแล้วรู้สึกว่า ตัว Duo จะตอบโจทย์กว่าแน่นอน เพราะสามารถใช้งาน Arduio ได้อย่างเต็มที่ โดยจะเหมือน Smart 7688+Arduino Yun
Labels:
Access Point,
AP,
Duo,
LinkIt,
Pin Out,
script,
Serial,
Smart 7688,
Staion Mode,
UART,
USB to UART
Saturday, February 20, 2016
LinkIt Smart7688 เชื่อมต่อ Arduino Uno R3 ผ่าน Serial Port
โดยปกติแล้วการเชื่อมต่อของฮาร์ดแวร์ในโลกของ Micro Controller นั้นจะเชื่อมต่อผ่านพอร์ต Serial เป็นหลัก แม้แต่ปัจจุบันพอร์ต USB จะมาแทนที่ Serial Port แบบ DB9 แล้วก็ตาม แต่นั่นก็เป็นพอร์ต Serial อีกรูปแบบหนึ่งที่มีความเร็วการเชื่อมต่อสูงกว่าแบบเดิมๆ
การใช้งาน Arduino และคอนโทรเลอร์อื่นๆ นั้นผ่าน Serial Port ที่เป็น USB (Universal Serial Bus) แทบทั้งสิ้น โดยผ่านการแปลงแบบ TTL ปัจจุบันนี้มีหลากหลายผู้ผลิต ส่วนผู้เขียนก็ใช้หลายๆ ตัวแล้วแต่โอกาสจะอำนวย แต่หลักๆ ก็ใช้ CP210x และ CH340
การใช้งาน Arduino และคอนโทรเลอร์อื่นๆ นั้นผ่าน Serial Port ที่เป็น USB (Universal Serial Bus) แทบทั้งสิ้น โดยผ่านการแปลงแบบ TTL ปัจจุบันนี้มีหลากหลายผู้ผลิต ส่วนผู้เขียนก็ใช้หลายๆ ตัวแล้วแต่โอกาสจะอำนวย แต่หลักๆ ก็ใช้ CP210x และ CH340
![]() |
ทดลองเชื่อมต่อ LinkIt Smart 7688 กับ Uno R3 ผ่านขาที่เป็น Serial |
Labels:
Arduino Uno R3,
CH304,
Connect,
CP210x,
LinkIt,
Serial,
Smart 7688,
TTL,
UART
LinkIt Smart 7688 - เรียกใช้งาน ntp-client ใน Node.js
LinkIt Smart 7688 เป็นคอนโทรลเลอร์ที่ถือว่าดีตัวหนึ่ง ถึงแม้ผู้เขียนยังไม่ได้ใช้งานทั้งหมด หรือรู้ทะลุปรุโปร่ง แต่ก็พยายามศึกษาค้นคว้าและจดบันทึกไว้ก่อน เพื่ออ้างอิงหรือต่อยอดภายหลัง
ช่วงระหว่างรอซื้อ Smart 7688 Duo เพื่อเอามาพัฒนาระบบงานโดยรับค่าผ่านทาง Arduino ก็ลองศึกษา Node.js ไปด้วยเพื่อเตรียมงานไปในตัว
วัตถุประสงค์ของการสแกนลายนิ้วมือของระบบ Time Attendance นั้นก็เพื่อป้องกันไม่ให้ทุจริตตอกบัตรแทนกันนั่นเอง แต่การทำงานผ่านระบบคอมพิวเตอร์ก็มีเรื่องของการเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้เช่นกัน ที่ชัดเจนที่สุด คือ เปลี่ยนแปลงเวลาในเครื่อง หรือแม้แต่การปลอมแปลงข้อมูลก่อนส่งเข้าไปเก็บที่เซิร์ฟเวอร์
ช่วงระหว่างรอซื้อ Smart 7688 Duo เพื่อเอามาพัฒนาระบบงานโดยรับค่าผ่านทาง Arduino ก็ลองศึกษา Node.js ไปด้วยเพื่อเตรียมงานไปในตัว
วัตถุประสงค์ของการสแกนลายนิ้วมือของระบบ Time Attendance นั้นก็เพื่อป้องกันไม่ให้ทุจริตตอกบัตรแทนกันนั่นเอง แต่การทำงานผ่านระบบคอมพิวเตอร์ก็มีเรื่องของการเปลี่ยนแปลงข้อมูลได้เช่นกัน ที่ชัดเจนที่สุด คือ เปลี่ยนแปลงเวลาในเครื่อง หรือแม้แต่การปลอมแปลงข้อมูลก่อนส่งเข้าไปเก็บที่เซิร์ฟเวอร์
Friday, February 19, 2016
$_POST[] จำกัดการรับค่าใน PHP
มีปัญหาไม้เบื่อไม้เมาระหว่าง โปรแกรมเมอร์ กับ คนทำระบบ มานานหลายเดือน สาเหตุที่แก้ไขล่าช้าก็เพราะมีงานอื่นที่สำคัญกว่า และแก้ไขกันอีกทีในภายหลัง
ปัญหาเริ่มจาก ตารางรับค่าของโปรแกรมหนึ่ง มี input 200 ร้อยกว่ารายการ รวมที่ซ่อนไว้แล้ว เมื่อกดปุ่ม Submit แล้ว จะมีข้อความเตือนออกทางหน้าจอว่าค้นหา index ที่ชื่อ data ไม่พบ
ปัญหาเริ่มจาก ตารางรับค่าของโปรแกรมหนึ่ง มี input 200 ร้อยกว่ารายการ รวมที่ซ่อนไว้แล้ว เมื่อกดปุ่ม Submit แล้ว จะมีข้อความเตือนออกทางหน้าจอว่าค้นหา index ที่ชื่อ data ไม่พบ
Notice: Undefined index: data in /var/sentora/hostdata/xxx/ public_html/yyy_xxx_com/controllers/price.php on line 124
Subscribe to:
Posts (Atom)